Tag: ignorance
ความเขลาอย่างมีเหตุมีผล ความบิดเบี้ยวทางความคิด และอนาธิปไตย
โดย เควิน คาร์สัน เควิน คาร์สัน. บทความต้นฉบับ. Rational Ignorance, Cognitive Distortion, and Anarchism. 24 พฤษภาคม 2025. แปลเป็นภาษาไทยโดย Kin ในทฤษฎีการเลือกสาธารณะ (public choice theory) แนวคิดเรื่อง “ความเขลาอย่างมีเหตุมีผล” (rational ignorance) หมายถึงการเลือกที่จะไม่หาความรู้ให้กับตัวเองในบางประเด็น เมื่อต้นทุนของการแสวงหาความรู้สูงกว่าผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมันสูงกว่าความน่าจะเป็นที่คะแนนเสียงของตนจะส่งผลต่อผลของการเลือกตั้ง หรือสูงกว่าความน่าจะเป็นที่อิทธิพลทางการเมืองของตนจะเปลี่ยนแปลงการตัดสินใจของนักการเมืองได้ แนวคิดนี้ยังสอดคล้องกับข้อจำกัดของเวลาและพลังงานของมนุษย์ โดยธรรมชาติแล้ว ผู้คนย่อมมีแนวโน้มที่จะทุ่มเททรัพยากรเหล่านั้นให้กับครอบครัว งาน เพื่อน และเพื่อนบ้าน มากกว่าที่จะใส่ใจกับนโยบายสาธารณะ โชคร้ายที่การเลือกไม่หาความรู้เกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง ไม่ได้หมายความว่าคนเราจะไม่มีความเห็นใดๆ เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ เมื่อไรที่เรามีแนวโน้มที่เข้าใจได้ในการจำกัดความพยายามของตัวเองในการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นทางสังคมหรือนโยบายสาธารณะ เราก็มักมีความเห็นที่รุนแรงเกี่ยวกับประเด็นระดับชาติบนฐานของข้อมูลที่มีอยู่อย่างค่อนข้างจำกัดนั้นตามไปด้วย ด้วยเหตุฉะนี้ คนมากมายจึงมีความเห็นรุนแรงเชิงลบ หรือพูดอีกอย่างหนึ่งคือมีอคติ ต่อกลุ่ม LGBT คนผิวสี และผู้อพยพ ผมนึกถึงเรื่องนี้ขึ้นมาวันนี้หลังจากส่งข้อความพูดคุยกับเพื่อนคนหนึ่งเกี่ยวกับเจ้านายของเธอ เธอเล่าว่า “เขาเป็นคนที่มีข้อเสียเต็มไปหมด เราสองคนมีความเชื่อที่ตรงข้ามกันอย่างสิ้นเชิง แต่เราต่างไม่พูดถึงเรื่องนั้นกัน เขาทำดีกับฉันอยู่บ่อยๆ เพื่อตอบแทนเขา…
Ignoranza Razionale, Distorsione Cognitiva e Anarchia
Kevin Carson. Originale: Rational Ignorance, Cognitive Distortion, and Anarchism, del 24 maggio 2025. Tradotto in italiano da Enrico Sanna. Secondo la teoria della scelta pubblica, si parla di “ignoranza razionale” quando il costo di informarsi su un argomento non vale il potenziale beneficio che darebbe tale conoscenza; in particolare, quando tale costo prevale sulla possibilità…
Rational Ignorance, Cognitive Distortion, and Anarchism
In public choice theory, “rational ignorance” refers to the choice not to inform oneself on some issue when the costs of doing so outweigh the benefits — in particular, when they outweigh the likelihood of one’s vote influencing the outcome of an election or one’s political pressure influencing a politician’s decisions. It also makes sense…
The Enragés: Know Thine Enemy with Cathy Reisenwitz
On the 21st installment of The Enragés, host Eric Fleischmann was joined by Cathy Reisenwitz (@CathyReisenwitz) to discuss her 2014 article Know Thine Enemy: Political Ignorance and Libertarianism (https://c4ss.org/content/28154).  Cathy Reisenwitz runs the Sex and the State newsletter on Substack and has bylines in TechCrunch, The Week, VICE, Daily Beast, and other fine publications. Support…
The Stupidity of the Elites
Sergio Malbergier writes (“E a estupidez, estupido!,” Folha de S. Paulo, September 11) about what marks, according to him, the current Brazilian presidential campaign: The utter ignorance of the voters. Malbergier believes that candidates and their marketers are so convinced of the electorate’s stupidity (Malbergier does not seem willing to differentiate between stupidity and ignorance) that they will always…
Anarchy and Democracy
Fighting Fascism
Markets Not Capitalism
The Anatomy of Escape
Organization Theory